บทความนี้จัดทำขึ้นเพื่อให้ความรู้และความเข้าใจสำหรับผู้ที่สนใจในการออกแบบงานระบบประกอบในโรงพยาบาล เพื่อเป็นแนวทางในการอ้างอิงมาตรฐานที่ใช้ในการออกแบบงานระบบ และเพื่อให้มั่นใจว่าระบบที่ได้ดำเนินการออกแบบแล้วมีความครบถ้วน และมีประสิทธิภาพในการออกแบบที่เป็นไปตามมาตรฐานและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง งานระบบใน
การออกแบบระบบสูบน้ำระบบเปิด เช่น การสูบน้ำหล่อเย็นของระบบระบายความร้อนของเครื่องทำความเย็นแบบศูนย์รวม (Chiller) หากค่าอัตราการไหลของน้ำหล่อเย็นสูงเกินกว่าค่าพิกัดใช้งาน ก็สามารถลดค่าอัตราการไหลของน้ำหล่อเย็นลงได้โดยการติดตั้ง VSD แต่ต้องพิจารณาถึงแรงดันของน้ำหล่อเย็น (Head) ด้วยว่า เมื่อลดอัตราการไหลของน้ำแล้วแรงดันของน้ำหล่อเย็น (Head) ต้องไม่ต่ำกว่าค่าพิกัดการออกแบบที่ต้องการ
(ดูภาพ กราฟตัวอย่างแสดงการปรับใช้งานปั๊มน้ำระบบเปิด เมื่อติดตั้ง VSD ประกอบ) -การลดความเร็วรอบจากจุดที่ 1 มายังจุดที่ 2 ในระบบเปิด ทำให้ Head เครื่องสูบน้ำต่ำกว่า Head ของระบบ เครื่องสูบน้ำจะไม่สามารถทำงานได้ -แก้ไขโดยการหรี่วาล์วจากจุดที่ 1 ไปยังจุดที่ 3 ก่อน เพื่อเพิ่ม Head ของเครื่องสูบน้ำ แล้วค่อยลดความเร็วรอบจากจุดที่ 3 มาจุดที่ 4 -ในทางปฏิบัติทำได้ค่อนข้างยาก ต้องใช้การตรวจวัด, คำนวณและ Commission ที่แม่นยำ หรือติดตั้งระบบควบคุมอัตโนมัติเพิ่มเติม
ดังนั้นเราสามารถปรุงปรับระบบเพื่อการอนุรักษ์พลังงานได้โดยติดตั้ง VSD ที่เครื่องสูบน้ำหล่อเย็น (CDP) ซึ่งมีวิธีคำนวณความถี่ใช้งานและผลประหยัดพลังงานโดยใช้กฎ Affinity’ Law ได้เช่นเดียวกันปั๊มน้ำระบบปิด เพียงแต่ต้องคำนึงถึงแรงดันของน้ำหล่อเย็น (Head) เมื่อติดตั้ง VSD และปรับความเร็วรอบลงมาแล้ว แรงดันของน้ำหล่อเย็น (Head) ต้องไม่ต่ำกว่าจุดใช้งาน ตามกฎ Affinity’ Law (สามารถดูกฏ Affinity’ Law ได้ที่ด้านบน)
หมวดหมู่:
โดยปกติโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการใช้เชื้อเพลิง หรือใช้ความร้อนในกระบวนการผลิต มักจะมีความร้อนเหลือทิ้ง เช่นความร้อนจากไอเสียของเตาเผา , ความร้อนจากไอเสียของ Boiler และความร้อนเหลือทิ้งจากการระบายความร้อนของระบบทำความเย็น หรือระบบปรับอากาศ ซึ่งการนำความร้อนเหลือทิ้งมาใช้ประโยชน์จะช่วยให้สามารถลดการใช้พ
อาคารสำนักงานในปัจจุบันนั้น เป็นสถานที่ที่ผู้คนหลายคนใช้เวลาเกือบทั้งวันอยู่ในอาคาร บางทีอาจจะมากกว่าอยู่ในบ้านพักอาศัยด้วยซ้ำ หลายอาคารในอดีตได้ก่อสร้างโดยละเลยความสำคัญของผู้ใช้งานในอาคาร ทำให้เกิดโรคเจ็บป่วยจากการใช้งานอาคาร (Sick Building Syndrome)ได้แก่ การเหนื่อยล้าง่าย ง่วง สมองไม่ปลอดโปร่ง ห