https://mitr.com/wp-content/uploads/2023/06/article_11_1.png

การออกแบบระบบสูบน้ำระบบเปิด เช่น การสูบน้ำหล่อเย็นของระบบระบายความร้อนของเครื่องทำความเย็นแบบศูนย์รวม (Chiller) หากค่าอัตราการไหลของน้ำหล่อเย็นสูงเกินกว่าค่าพิกัดใช้งาน ก็สามารถลดค่าอัตราการไหลของน้ำหล่อเย็นลงได้โดยการติดตั้ง VSD แต่ต้องพิจารณาถึงแรงดันของน้ำหล่อเย็น (Head) ด้วยว่า เมื่อลดอัตราการไหลของน้ำแล้วแรงดันของน้ำหล่อเย็น (Head) ต้องไม่ต่ำกว่าค่าพิกัดการออกแบบที่ต้องการ

(ดูภาพ กราฟตัวอย่างแสดงการปรับใช้งานปั๊มน้ำระบบเปิด เมื่อติดตั้ง VSD ประกอบ) -การลดความเร็วรอบจากจุดที่ 1 มายังจุดที่ 2 ในระบบเปิด ทำให้ Head เครื่องสูบน้ำต่ำกว่า Head ของระบบ เครื่องสูบน้ำจะไม่สามารถทำงานได้ -แก้ไขโดยการหรี่วาล์วจากจุดที่ 1 ไปยังจุดที่ 3 ก่อน เพื่อเพิ่ม Head ของเครื่องสูบน้ำ แล้วค่อยลดความเร็วรอบจากจุดที่ 3 มาจุดที่ 4 -ในทางปฏิบัติทำได้ค่อนข้างยาก ต้องใช้การตรวจวัด, คำนวณและ Commission ที่แม่นยำ หรือติดตั้งระบบควบคุมอัตโนมัติเพิ่มเติม

ดังนั้นเราสามารถปรุงปรับระบบเพื่อการอนุรักษ์พลังงานได้โดยติดตั้ง VSD ที่เครื่องสูบน้ำหล่อเย็น (CDP) ซึ่งมีวิธีคำนวณความถี่ใช้งานและผลประหยัดพลังงานโดยใช้กฎ Affinity’ Law ได้เช่นเดียวกันปั๊มน้ำระบบปิด เพียงแต่ต้องคำนึงถึงแรงดันของน้ำหล่อเย็น (Head) เมื่อติดตั้ง VSD และปรับความเร็วรอบลงมาแล้ว แรงดันของน้ำหล่อเย็น (Head) ต้องไม่ต่ำกว่าจุดใช้งาน ตามกฎ Affinity’ Law (สามารถดูกฏ Affinity’ Law ได้ที่ด้านบน)

https://mitr.com/wp-content/uploads/2023/06/article_11_2.png

หมวดหมู่:

บทความที่เกี่ยวข้อง

หลังจากที่ US Green Building Council ได้ออกเกณฑ์การประเมินอาคารเขียวในชื่อ LEED เกณฑ์นี้ก็ได้รับความนิยมอย่างรวดเร็วไปทั่วโลก มีอาคารหลายแห่งในหลายประเทศ สนใจเข้าร่วมรับการประเมิน กว่า 26,000 อาคารแล้ว และมีอีกหลายประเทศที่ได้พัฒนาเกณฑ์ขึ้นมาใช้เอง เช่น สหราชอาณาจักร สิงคโปร์ ญี่ปุ่น รวมถึง ประเทศไท

Read More

โดยทั่วไปการใช้พลังงานของโรงงานจะแปรผันตามปริมาณผลผลิต ซึ่งสามารถนำความสัมพันธ์ดังกล่าวมาใช้ในการตั้งเป้าหมายการใช้พลังงานได้ โดยเรียกชื่อกราฟในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานและผลผลิตนี้ว่า Scatter Diagram กราฟนี้จะ Plot ข้อมูลโดยให้แกนตั้งเป็นปริมาณพลังงานและแกนนอนเป็นปริมาณผลผลิต แล้วหาสมก

Read More

วิธีการอนุรักษ์พลังงานที่เกี่ยวข้องกับหอผึ่งน้ำ ซึ่งมีหลากหลายวิธี เช่น กราฟแสดงค่าอุณหภูมิกระเปาะเปียกเฉลี่ยรายชั่วโมงแต่ละเดือนของกรุงเทพมหานคร การเปิดใช้งานหอผึ่งน้ำให้เหมาะสม (Cooling tower optimization) วิธีนี้คือการเปิดใช้งานหอผึ่งน้ำให้สามารถทำอุณหภูมิน้ำด้านออกได้ใกล้เคียงกับอุณหภูมิกระเปาะเ

Read More

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า